เครื่อง ซัก ผ้า ดัง เวลา ปั่น แห้ง

สิงห์ กรอบ กระจก หลวง พ่อ เดิม — สิงห์ งา แกะ กรอบ กระจก หลวง พ่อ เดิม

พระครูนิวาสธรรมขันธ์ (เดิม พุทธสโร) วัดหนองโพ จ. นครสวรรค์ พระครูนิวาสธรรมขันธ์ (เดิม พุทธสโร) วัดหนองโพ จ. นครสวรรค์ เกิดวันพุธที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ. ศ. ๒๔๐๓ แรม ๑๑ ค่ำ เดือน ๓ ปีวอก มรณะ วันอังคารที่ ๒๒ พฤษภาคม พ. ๒๔๙๔ แรม ๒ ค่ำ เดือน ๖ ปีเถาะ รวมศิริอายุ ๙๒ ปี ๗๐ พรรษา มีสมณศักดิ์ คือ พระครูนิวาสธรรมขันธ์ รองเจ้าคณะ แขวงเมืองนครสวรรค์ ท่านได้ศึกษาวิชากับ พระอุปัชฌาย์ (ขำ) วัดอินทาราม, หลวงพ่อเงิน วัดพระปรางค์เหลือง และหลวงปู่เทศ วัดสระทะเล มีศิษยานุศิษย์ คือ หลวงพ่อกัน วัดเขาแก้ว มีสหธรรมิก คือ หลวงพ่อพวง วัดหนองกระโดน วัตถุมงคลคือ เหรียญรุ่นแรกสร้างปี พ. ๒๔๗๐ เป็นเหรียญเสมา เหรียญที่นิยม คือ เหรียญรูปไข่ ปี พ. ๒๔๘๒ มี ๒ เนื้อ คือ เนื้อเงินและทองแดง, รูปเหมือนปั๊ม, รูปเหมือนหล่อ, ตะกรุด, มีดหมอ, เสื้อยันต์ สิงห์งาแกะ ฯลฯ มีพุทธคุณคือ เมตตามหานิยม

เต็มเรื่อง

เล่าเรียนพระปริยัติธรรม และคาถาอาคมเบื้องต้น นอกจากจะศึกษากับหลวงตาชมแล้วหลวงพ่อยังได้ไปมอบตัวเป็นศิษย์ของอาจารย์พันธ์ ชูพันธ์ ซึ่งเป็นฆราวาส เป็นลูก ศิษย์สายตรงของหลวงพ่อเฒ่าดังกล่าวแล้วเบื้องต้นอาจารย์พันธ์ เชี่ยวชาญมากทางปริยัติในสมัยนั้นในละแวกใกล้เคียง หาตัวจับยาก เมื่อหลวงพ่อได้รับการศึกษาจากอาจารย์ พันธ์(ฆราวาส) เป็นบันไดก้าวแรก และก็ทำให้หลวงพ่อเดิมแตกฉานยิ่งขึ้นแต่เป็นที่น่าเสียด้ายว่า เมื่อหลวงพ่อเดิมได้เล่าเรียนได้ไม่นานนัก อาจารย์พันธ์ก็ถึงแก่กรรมหลวง พ่อจึงคงเล่าเรียนกับหลวงตาชม จนในที่สุดก็ได้รับการแนะนำให้ไปเรียนกับ ๓. หลวงพ่อมี วัดบ้านบน ต. ม่วงหัก อ. นครสวรรค์ ท่านได้เล่าเรียนต่อทางพระปริยัติต่อกับหลวงพ่อมี ได้รับการถ่ายทอดจนก้าวหน้าแตกฉานออกไปอีกจนสิ้น ความรู้ของหลวงพ่อมีท่านก็ไม่ละความพยายาม ได้เสาะแสวงหาสำนักเรียนต่อ หลังจากเรียนกับอาจารย์มี ๒ พรรษา ได้ย้ายต่อไป ๔. อาจารย์แย้ม (ฆราวาส) วัดสระทะเล ได้เข้าเรียนพระปริยัติขั้นสูงต่อไปกับอาจารย์แย้ม (ฆราวาส) ซึ่งหลวงพ่อได้ตั้งอกตั้งใจเรียนจนเข้าใจแจ่มแจ้ง สามารถแปลเข้าสอบ เปรียญในสนามหลวงได้ทีเดียว แต่ท่านกลับหลีกเลี่ยงการแปลธรรมในสนามหลวง ท่านได้เรียนเพื่อศึกษาหาความรู้เท่านั้นมิได้หวังเปรียญ หรือเป็นมหาแต่อย่างใด เมื่อเรียน พระปริยัติได้สมบูรณ์แล้ว ท่านรับการแนะนำให้ไปเรียนการเทศนา เพื่อเผยแพร่ความรู้ที่ท่านได้เรียนมาให้ญาติโยมสาธุชน พ่อแม่ พี่ป้า น้าอา ได้สดับท่านได้ไปศึกษาวิชา การเป็นนักเทศน์กับ ๕.

หลวงพ่อเงิน(พระครูพยุหานุศาสก์)วัดพระปรางค์เหลือง ตำบลท่าน้ำอ้อย อำเภอยุพหะคีรี (ครูสวด) ๓. หลวงพ่อเทศ วัดสระทะเล ตำบลสระทะเล อำเภอพยุหะคีรี (คู่สวด) ได้รับฉายาทางพระพุทธศาสนาก็คือ? พุทธสโร? เมื่อุปสมบทแล้วได้เดินทางกลับมาจำพรรษาอยู่ ณ วัดหนองโพ เพื่อศึกษาเล่าเรียนตามทางที่พระนวกะ จะพึ่งได้รับความยิ่งยงแห่งพระอุปัชฌาย์และคู่สวดของทาง ๑. หลวงพ่อแก้ว วัดอินทราราม (วัดใน) เป็นพระเถระที่มีความคงขลังเป็นที่เคารพนับถือ ของชาวจังหวัดนครสวรรค์ เชี่ยวชาญพระเวทย์วิทยาการ การวิปัสสนากรรมฐาน อิทธิปฏิหารย์มากมาย หลวงพ่อเดิมไปศึกษากับทางหลายอย่าง (โดยเฉพาะ นะ ปัดตลอด) ๒. หลวงพ่อเงิน วัดพระปรางค์เหลือง เป็นเจ้าคณะอำเภอพยุหะคีรี เป็นผู้มีความยิ่งยงในพุทธาคมเป็นอันมากเป็นลูกศิษย์องค์หนึ่งของหลวงพ่อเฒ่า ( รอด) วัดหนองโพ เชี่ยวชาญทางด้านอาคม ทางวิปัสสนา มีวิชาที่ยอดเยี่ยมเป็นเอกคือ น้ำมนต์จินดามณีสารพัดนึก ใครได้รดน้ำมนต์จากท่านแล้วจะมีโชคชัย เคราะห์ร้ายหายดี ปราถนาทุกประ การได้ดั้งประสงค์ เมื่อคราวล้นเกล้ารัชกาลที่ ๕ เสด็จประภาสหัวเมืองเหนือ ได้แวะที่วัดพระปรางค์เหลือง และโปรดให้รดน้ำมนต์ถวาย ดังมีพระราชหัตถ์จดหมายเหตุประ ภาสต้น เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๔๔๙ ๓.

  • เที่ยว ฮอกไกโด 6 วัน 5 คืน หน้า หนาว
  • ชม 'วัดอนาลโยทิพยาราม' วัดงามบนดอยบุษราคัม เมืองพะเยา
  • Line 6 pod go ราคา wireless
  • ทํา เทิ ร์ น 3 เท่า คือ

เครื่องรางของขลัง รูปสัตว์ทุกชนิด (ห้าม เขี้ยว งา) : สิงห์กรอบกระจกหลวงพ่อเดิม

หลวงพ่อเทศ วัดสระทะเล เป็นพระเถระที่เป็นอมตะ อาคมขลัง วาจาสิทธิ์ เป็นที่ยำเกรงดีทางวิปัสสนา และน้ำมนต์ ตลอดจนมหาอุตม์ ไม่เคยออกของมงคลเป็นรูปท่าน นอกจากพระเครื่องบ้างเป็นครั้ง ว่ากันว่าเมื่อท่านมรณะภาพไปแล้ว รูปหล่อก็ถ่ายรูปไม่ติด และมีการแห่รูปของท่านไปดูงิ้วในงานประจำปีนครสวรรค์เป็นประจำ มีเกร็ดว่า ทางกรรมการวัดทำเหรียญของท่านไปให้หลวงพ่อเดิมปลุกเศกเพื่อให้เกิดความขลัง เอาใส่ห่อผ้าขาววางไว้บนพานนำไปถวายท่านหลวงพ่อเดิมรับมาแล้วไม่ได้แก้ห่อออกยก ขึ้นเหนือศรีษะของท่าน แล้วส่งคืนกำชับว่า? ของดีแล้วไม่ต้องปลุกเสก ดีอยู่ที่ตัว? ทั้งที่กรรมการวัดก็ได้บอกท่านเลยว่าเป็นของหลวงพ่อเทศ วัดสระทะเล กรรมการวัดไม่เชื่อ เอากลับไปลองยิงปรากฏว่าปืนด้านหมด การศึกษาหาความรู้ของหลวงพ่อเดิม ดังได้กล่าวไว้แต่ต้นไว้แล้วว่าตั้งแต่วัยเด็กมาจนกระทั่งรุ่นหนุ่ม หลวงพ่อมิเคยได้รับการศึกษาเป็นชิ้นเป็นอันมาก่อนจนกระทั่งได้บวช เรียน และนำมาจำพรรษาอยู่ที่วัดหนองโพ ท่านจึงมาเรียนเป็นล่ำเป็นสัน ท่าในมีความมานะพยายามเล่าเรียนศึกษาดังได้เล่าให้ผู้ใกล้ชิดฟังว่า ๑. เล่าเรียนคัมภีร์พระธรรมวินัย และท่องคัมภีร์พระธรรมวินัย ๑๐ ผูก อันเป็นหลักสำคัญของพระนวกะ ในสมัยนั้นจะต้องเรียน เป็นรากฐานการศึกษาต่อไปในการเป็นนัก เทศนา แตกฉานในภาษาบาลีอันเป็นแกนไปสู่การกระทำวิปัสสนากรรมฐานต่อไป ท่านเล่าเรียนวิชาการนี้กับหลวงตาชม เจ้าอาวาสวัดหนองโพ ซึ่งเป็นศิษย์เอกของหลวง พ่อเฒ่ารอด หลวงตาชมชื่นชอบความมานะพยายามของหลวงพ่อเดิมมาก ได้ทุ่มเทพลังการอบรมวิชาความรู้ที่มีอยู่ให้หลวงพ่อเดิม อย่างหมดไส้หมดพุง และยังแนะนำสถาน ศึกษาที่จะเพิ่มเติมให้อีกด้วย รวมเวลาเรียน ๗ พรรษา นับแต่บวชพรรษาแรก ๒.

2002 - 2013 All Rights Reserved หน้านี้ใช้เวลาในการแสดงผล 0. 1250002 วินาที

๑๒๒๒ ตรงกับวันที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ. ๒๔๐๓ หลวงพ่อมรณภาพเมื่อวันอังคาร แรม ๒ ค่ำ เดือน ๖ ตรงกับ วันที่ ๒๒ พฤษภาคม พ. ๒๔๙๔ เวลา ๑๗. ๔๕ น.

ยาง-หม-เพลา-ขบ-seiken